ตาราง 2 ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร


ตาราง  2 ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร
ขั้นตอน
สิ่งที่ศึกษา
วิธีการศึกษา/แหล่งข้อมูล
เป้าหมาย
1. การศึกษาและ
    วิเคราะห์ข้อมูล
    พื้นฐาน
  1.1 สภาพและ  
        ความต้องการ
        ของชุมชน

  1.2  ศักยภาพของ
         โรงเรียน












  1.3  การวิเคราะห์
         หลักสูตร
         แกนกลาง










-  สภาพทั่วไปของชุมชน
-  การศึกษา
-  สิ่งแวดล้อม
-  การประกอบอาชีพ
-  สุขภาพอนามัย
-  ขนบธรรมเนียมประเพณี
-  ทรัพยากร
-  ปัญหาชุมชน
-  สภาพทั่วไปของโรงเรียน
-  บุคลากร
-  งบประมาณ
-  อุปกรณ์
-  สื่อการจัดการเรียนการสอน
-  อาคารสถานที่
-  ห้องเรียน
-  ความร่วมมือระหว่าง  
    ชุมชนกับโรงเรียน
-   จุดมุ่งหมาย
    (มาตรฐานหลักสูตร)
-  จุดประสงค์รายวิชา   (มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่ม วิชา)
-  เนื้อหาสาระ (สาระการ
     เรียนรู้แต่ละช่วงชั้น)
-  การจัดการเรียนการสอน
     และการประเมินผล



-  เอกสาร
-  การสำรวจชุมชนด้วย
     การสัมภาษณ์สอบถาม 
    สังเกต
-  โรงเรียนประชุมร่วมกับ
    ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น ผู้
     ปกครอง กรรมการ คน
    ในชุมชน นักเรียน ฯลฯ
-  เอกสาร
-  รายงาน
-  การสำรวจโรงเรียน
-  ประชุมร่วมกับผู้มีส่วน
     เกี่ยวข้อง




-   เอกสารหลักสูตรแกนกลาง



กำหนดหัวเรื่องที่จะนำมา
เรียนรู้  เรียงตามลำดับความ
สำคัญ





ตัดสินใจเกี่ยวกับ หัวเรื่อง
 ที่จะนำมาเรียนรู้








- กำหนดจุดประสงค์ทั่วไป

-  กำหนดจุดประสงค์การ
 การเรียนรู้ (เชิงพฤติกรรม)
-  กำหนดเนื้อหาสาระ
-  กำหนดการจัดกิจกรรม
-  กำหนดการวัดและ
 ประเมินผล
 2. การร่าง 
    หลักสูตร
  2.1 การกำหนดจุด
       ประสงค์ของ
        หลักสูตร


  2.2 การกำหนดเนื้อหาสาระ



-  หัวเรื่องที่จะนำมาเรียน
-  จุดประสงค์การเรียนรู้ใน
หลักสูตรแกนกลาง


  เนื้อหาสาระที่จะนำมากำหนด
  การเรียนรู้
- สอดคล้องกับจุดประสงค์
-  เกี่ยวข้องกับสภาพความ


- ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์  ที่หลักสูตรแกนกลางในขั้นตอนที่ 1 มากำหนดเป็นจุดประสงค์ของการเรียนรู้
-  ข้อมูลที่จะได้จาก
   ขั้นตอนที่ 1
-  ประชุมร่วมกับผู้มีส่วน
   เกี่ยวข้อง


-  กำหนดจุดประสงค์ทั่วไป
-  กำหนดจุดประสงค์
    การเรียนรู้


กำหนดเนื้อหาสาระได้
สอดคล้องกับจุดประสงค์
และสภาพความต้องการ
ของชุมชน








  2.3 การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมและสื่อการเรียนรู้



2.4   การกำหนดวิธี วัดและประเมินผล
 ผู้เรียน

3.  การตรวจสอบ
     คุณภาพของ
    หลักสูตร





4. การนำหลักสูตร
    ไปใช้




    ต้องการของชุมชน
-  ทันสมัย  น่าสนใจ
-  ยากง่าย  สอดคล้องกับวัย
    ของผู้เรียน
-  มีประโยชน์นำไปใช้ใน
    ชีวิตประจำวัน
-  โรงเรียนมีศักยภาพในการ
    จัดการเรียนการสอนได้
-  กระบวนการจัดการเรียน
   การสอน
-  กิจกรรมที่ผู้เรียนกระทำ
-  กิจกรรมที่ผู้สอนกระทำ
-  ประสบการณ์เดิมของผู้เรียน
-  สื่อการเรียนรู้ที่จะนำมาใช้
-  วิธีวัดและประเมินผลผู้เรียน
   ตามสภาพจริง
-  คุณลักษณะต่างๆ  ที่ต้อง  การให้เกิดกับผู้เรียนในราย วิชาที่พัฒนาขึ้น
-  เครื่องที่ใช้ในการวัดและประเมินผลผู้เรียน
-  วิธีการตรวจสอบคุณภาพ
    ของหลักสูตร






-  วิธีการแปลงหลักสูตรไปสู่
    การจัดการเรียนการสอน
-  การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้
     เรียนเป็นสำคัญ








- เอกสาร  ตำราจากห้อง
สมุดหน่วยงานต่างๆ
- ประการตรงของครูผู้สอน
-  ประชุมร่วมกับผู้มีส่วน
เกี่ยวข้อง

-  เอกสาร  ตำราจากห้อง
สมุดหน่วยงานต่างๆ
-  ประการตรงของครูผู้สอน
-  ประชุมร่วมกับผู้มีส่วน
เกี่ยวข้อง
-  ประชุมระดมความ 
    คิดเห็นจากคณะทำงาน
    ร่างหลักสูตร
-  ความคิดเห็นจาก
    ผู้เชี่ยวชาญ
-  ประชุมรับฟังความ
    คิดเห็นจากผู้มีส่วน
    เกี่ยวข้อง
-  เอกสาร  ตำราจากห้อง
   สมุดหน่วยงานต่างๆ 
-  ประสบการณ์ตรงของ
   ผู้สอน
-  ประสานกับชุมชนเพื่อ








แนวทางการจัดการเรียน
การสอนในรายวิชาที่
พัฒนาขึ้น




วิธีวัดและประเมินผลผู้
เรียนที่สอดคล้องกับ
จุดประสงค์ของหลักสูตร

ประสิทธิภาพของหลักสูตร
 ก่อนนำไปใช้จริง






ประสิทธิภาพของหลักสูตร
 ก่อนนำไปใช้จริง





5.  การประเมินผล
     หลักสูตร



-  ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในการ
    จัดการเรียนการสอน
    ใช้ สื่อ  บุคลากร  แหล่ง
    เรียนรู้ ในการจัดการเรียนการสอน
- กระบวนการจัดการเรียน
 การสอน
- ประเมินผลนักเรียนใน
 ระหว่างการจัดการเรียน
 การสอน
- ประเมินผลนักเรียนเมื่อสิ้นสุด
 การจัดการเรียนการสอน
- ประเมินเนื้อหาสาระสื่อ
 กิจกรรมการจัดการเรียน
 การสอน
-ประเมินการมีส่วนร่วมของ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

-  การตัดสินคุณค่าของหลัก
    สูตรที่ใช้ในการจัดการ
    เรียน การสอน
-  การปรับปรุงหลักสูตรให้
    ดียิ่งขึ้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น